tripleplaybiotech.com

การ ตรวจ โรค ไต

May 26, 2022
  1. การคัดกรองโรคไต ใครบ้างควรไปตรวจ ? | โรงพยาบาลสินแพทย์
  2. การวินิจฉัย และการรักษาโรคกรวยไตอักเสบ
  3. อยู่ตรงไหน
  4. โปรแกรมตรวจคัดกรองโรคไต
  5. ตรวจคัดกรองโรคไตและปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคไต
  6. คุณเคยตรวจเช็คไตบ้างหรือเปล่า?

การตรวจปัสสาวะ เพื่อหาว่ามีเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะมากผิดปกติหรือไม่ รวมทั้งหาเซลล์มะเร็งที่อาจปนออกมากับปัสสาวะ (urine cytology) 2. การส่องกล้องตรวจกระเพาะปัสสาวะ (cystoscopy) โดยแพทย์จะส่องกล้องผ่านท่อปัสสาวะเข้าไปยังกระเพาะปัสสาวะ เพื่อตรวจหาตำแหน่ง ขนาด จำนวนและรูปร่างของเนื้องอก และตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจทางพยาธิวิทยาเพื่อยืนยันว่าเป็นเซลล์มะเร็งหรือไม่ 3. การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan) บริเวณช่องท้องทั้งหมดเพื่อตรวจหาความผิดปกติของอวัยวะในระบบทางเดินปัสสาวะ การเตรียมตัวตรวจอัลตราซาวด์ระบบทางเดินปัสสาวะ (KUB) วิธีการตรวจไม่ยุ่งยาก และไม่ได้ทำให้เกิดความเจ็บปวด วิธีการตรวจแพทย์จะนำหัวตรวจอัลตร้าซาวน์มาสัมผัสที่บริเวณที่จะทำการตรวจ ใช้เพียงเวลาประมาณ 5-10 นาทีเท่านั้น • ผู้ป่วยไม่ต้องงดน้ำ และอาหาร • ก่อนตรวจควรกลั้นปัสสาวะจนรู้สึกอยากจะปัสสาวะก่อนเข้ารับการทำอัลตราซาวน์ เพื่อจะทำให้เห็นภาพได้ชัดเจนยิ่งขึ้น • ถ้ายังไม่ปวดปัสสาวะแนะนำให้ดื่มน้ำ 2-3 แก้วก่อนตรวจประมาณ 0. 5-1 ชั่วโมง สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โรงพยาบาลเปาโล พหลโยธิน ศูนย์โรคระบบทางเดินปัสสาวะ อาคาร 1 ชั้น 2 โทร. 0-2271-7000 ต่อ โรค ระบบทางเดินปัสสาวะ

การคัดกรองโรคไต ใครบ้างควรไปตรวจ ? | โรงพยาบาลสินแพทย์

การ ตรวจ โรค ไต ระยะ

การวินิจฉัย และการรักษาโรคกรวยไตอักเสบ

ในกรณีที่ผู้ใช้บริการไม่สะดวกรอรับผลการตรวจและข้อมูลทางการแพทย์ ทางเราจะส่งข้อมูลดังกล่าวไปยังอีเมลของบัญชีที่ได้ลงทะเบียนไว้ และบันทึกลงในประวัติการรักษาในส่วนของข้อมูลส่วนบุคคล 13. ท่านจะต้องไม่อัปโหลดข้อมูล หรือทำกิจกรรมที่เป็นอันตราย หรือเป็นการแทรกแซง ขัดขวางการทำงานของระบบภายในเว็บไซต์ หากทางเรามีการตรวจสอบว่าท่านได้ละเมิดข้อตกลงดังกล่าวท่านจะต้องชดใช้ค่าเสียหายแทนทางเพชรเวช 14. สมาชิกเว็บไซต์เพชรเวชจะไม่นำข้อมูลการใช้บริการไปใช้ในกิจกรรมที่ผิดกฎหมายเพื่อละเมิดความเป็นส่วนตัวของผู้อื่น หรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของสังคม เพชรเวชจะไม่รับผิดชอบต่อการกระทำดังกล่าว หากทางเพชรเวชพบว่าสมาชิกของเว็บไซต์ละเมิดข้อตกลงดังกล่าว ทางเราจะขอสงวนสิทธิ์ในการระงับการให้บริการกับสมาชิกท่านนั้นโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า 15. หากเพชรเวชมีการเปลี่ยนแปลงข้อตกลงในการให้บริการจะแจ้งให้ท่านทราบ โดยการขึ้นหน้าจอ "ข้อตกลง" เพื่อให้ท่านรับทราบเงื่อนไขการใช้บริการและกด "ยอมรับ" เพื่อเข้าใช้งานเว็บไซต์ต่อไป ทางเพชรเวชจะถือว่าท่านทราบข้อตกลงและยอมรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว แล้วจะไม่มีการฝ่าฝืนเงื่อนไขและข้อตกลงโดยอ้างว่าไม่ทราบไม่ได้ 16.

อยู่ตรงไหน

เพชรเวชขอสงวนสิทธิ์ในการส่งผลตรวจสุขภาพผ่านช่องทางอีเมลของผู้ทำการสั่งซื้อในหมวด "ซื้อให้ผู้อื่น" เพื่อป้องกันการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล 8. เพชรเวชจะทำการยืนยันอีเมลจากผู้เข้ารับการตรวจโดยตรงในวันที่เข้าใช้บริการ โดยจะส่งผลการตรวจสุขภาพไปทางอีเมลของผู้ใช้บริการ 9. ท่านสามารถชำระค่าใช้บริการทางการแพทย์ผ่านเว็บไซต์เพชรเวชนี้ โดยท่านจะต้องกรอกข้อมูลทางการเงินที่ถูกต้องครบถ้วนตามที่กำหนด โดยเพชรเวชจะไม่รับผิดชอบใด ๆ หากทางเราได้ดำเนินการถูกต้องตามคำสั่งการทำรายการของท่าน กรณีท่านมีความประสงค์ต้องการยกเลิกแพ็กเกจ ท่านจะต้องเสียค่าธรรมเนียม 2. 1% จากยอดชำระบริการทางการแพทย์ของเว็บไซต์เพชรเวช ยกเว้นท่านจะชำระผ่าน Credit card ต้องแจ้งยกเลิกก่อนเวลา 21:00 น. จึงจะสามารถคืนเงินเต็มราคาได้ โดยมีระยะเวลาในการดำเนินการประมาณ 3-7 วัน 10. หากมีข้อผิดพลาดหรือท่านมีข้อสงสัยประการใดเกี่ยวกับข้อมูลผู้ใช้ หรือผู้รับบริการทางการแพทย์ ท่านจะแจ้งรายละเอียดดังกล่าวมายังเพชรเวชเพื่อยืนยันตรวจสอบแก้ไขข้อผิดพลาดดังกล่าว ข้อกำหนดการใช้บริการและนโยบายความปลอดภัย 11. เพื่อความปลอดภัยของข้อมูลส่วนตัวของท่าน เพชรเวชจะเก็บรักษาชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และข้อมูลส่วนบุคคลของท่าน โดยไม่เปิดเผยข้อมูลแก่ผู้อื่น หากมีบุคคลอื่นล่วงรู้รหัสผ่านของท่านจากความประมาทของผู้ใช้เอง ควรแจ้งให้ทางเพชรเวชทราบโดยด่วน หากบุคคลอื่นใช้รหัสผ่านของท่านกระทำการใด ๆ ที่เป็นการละเมิดข้อกฎหมาย ท่านจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการกระทำดังกล่าวด้วยตนเอง 12.

โปรแกรมตรวจคัดกรองโรคไต

โรคไตวายเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease) คือภาวะที่การทำงานของไตค่อย ๆ เสื่อมถอยอย่างต่อเนื่อง ใช้ระยะเวลานานเป็นเดือน หรือ เป็นปี ทำให้การกรอง และกำจัดของเสียออกจากร่างกายนั้นมีประสิทธิภาพลดลง เป็นการทำลายเนื้อไตอย่างถาวร ไม่สามารถฟื้นฟูให้กลับมาทำงานได้เป็นปกติ หลายคนมักรอให้เกิดอาการผิดปกติกับร่างกายก่อน ถึงค่อยไปรับการตรวจจากแพทย์ แต่โรคไตวายเรื้อรังในระยะแรกเริ่มนั้น แทบไม่มีอาการแสดงออกมาให้เห็น ดังนั้น การตรวจสุขภาพไตเป็นประจำ จึงเป็นสิ่งสำคัญ ในการเฝ้าระวังความเสี่ยงของโรคที่อาจกำลังมาถึง ทำไมต้องมาตรวจคัดกรองโรคไต? โรคไต เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ หากมีความเสี่ยง ก็ยังสามารถดูแลตนเองอย่างถูกวิธีเพื่อให้ความเสี่ยงลดลง การรักษา และชะลอความเสื่อมของไตในระยะแรก ๆ ทำได้ง่ายกว่าในระยะที่รุนแรงแล้ว สามารถคงประสิทธิภาพการทำงานของไตไว้ได้นานขึ้น โรคไตในระยะเริ่มต้นนั้นแทบจะไม่แสดงอาการผิดปกติ ดังนั้นวิธีที่จะประเมินความเสี่ยงของโรคได้คือการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ ใครบ้างที่ควรตรวจสุขภาพไต?

ตรวจคัดกรองโรคไตและปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคไต

2-1. 0 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร เพศชายอายุ 21 ปีขึ้นไป จะอยู่ที่ 0. 7-1. 3 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร เพศหญิงอายุ 4-20 ปี จะอยู่ที่ 0. 0 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร เพศหญิงอายุ 21 ปีขึ้นไป จะอยู่ที่ 0. 6-1. 1 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ค่าอัตราการกรองของเสียของไต จะขึ้นอยู่กับอยู่กับอายุ เพศ และน้ำหนักของผู้เข้ารับการตรวจ แต่ตัวเลขที่อยู่ในเกณฑ์ปกติจะอยู่ที่ประมาณ 120-130 มิลลิลิตรต่อนาที ซึ่งโดยปกติยิ่งอายุมากขึ้น ค่าตัวเลขนี้ก็จะยิ่งลดลงตามความเสื่อมของอวัยวะ 3.

คุณเคยตรวจเช็คไตบ้างหรือเปล่า?

ท่านสามารถลงทะเบียนขอเปิดบัญชีแทนบุคคลอื่น เพื่อให้ผู้นั้นเป็นผู้รับบริการทางการแพทย์ ซึ่งอาจมีจำนวนมากกว่าหนึ่งคน และท่านต้องรับประกันว่าบุคคลอื่นนั้นต้องอยู่ในอำนาจปกครองและอยู่ในความดูแล หรือความรับผิดชอบของท่านโดยชอบด้วยกฎหมาย 4. หากทางเพชรเวชไม่ได้รับข้อมูลที่จำเป็นเพียงพอต่อการยืนยันตัวตน ความสัมพันธ์ ความยินยอม หรืออำนาจในการกระทำการแทนผู้รับบริการทางการแพทย์ เพชรเวชจะปฏิเสธการเปิดเผยข้อมูลเพื่อป้องกันการละเมิดระเบียบข้อบังคับของกฎหมาย 5. หากท่านเปิดบัญชีแทนผู้เยาว์ในขณะที่อายุยังไม่ถึงเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนดให้ยินยอมเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้เยาว์ด้วยตนเอง ท่านมีสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคลของผู้เยาว์ตามที่กฎหมายกำหนด และเมื่อผู้เยาว์มีอายุตามเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด (20 ปีบริบูรณ์) ทางเพชรเวชจะดำเนินการขอความยินยอมจากผู้เยาว์โดยตรง และทางเพชรเวชขอสงวนสิทธิ์ให้ผู้รับบริการทางการแพทย์ที่ท่านเปิดบัญชีแทนนั้นปรับสถานะเป็นผู้ใช้บริการด้วยตนเอง เมื่อมีเหตุจำเป็น 6. เพชรเวชขอสงวนสิทธิ์ในการให้บริการเว็บไซต์ หรือหยุดให้บริการเมื่อใดก็ได้ โดยไม่ต้องแจ้งให้ท่านทราบล่วงหน้า กรณีที่ท่านเข้าสู่ระบบเพื่อทำการสั่งซื้อแพ็กเกจให้บุคคลอื่น 7.

รวมข้อมูลการตรวจไต อวัยวะไตสำคัญอย่างไร อ่านค่าไตอย่างไร รายการตรวจไตส่วนมากมีอะไรบ้าง เผยแพร่ครั้งแรก 4 พ. ย. 2020 อัปเดตล่าสุด 28 ธ. ค. 2020 ตรวจสอบความถูกต้อง 28 ธ. 2020 เวลาอ่านประมาณ 5 นาที ไตเป็นอีกอวัยวะสำคัญที่ร่างกายขาดไม่ได้ เพราะไตมีบทบาทสำคัญในการกำจัดของเสียจากร่างกาย ซึ่งเกิดจากการเผาผลาญสารอาหารที่เรารับประทานเข้าไปในแต่ละวัน รวมถึงช่วยรักษาสมดุลของสารน้ำ และเกลือแร่ในร่างกาย หลายคนอาจเข้าใจผิดว่า โรคไตมีสาเหตุมาจากการรับของเสีย หรือสารพิษเข้าร่างกายเท่านั้น แต่ความจริงแล้ว โรคไตมีปัจจัยการเกิดได้หลายอย่าง ทั้งจากพันธุกรรม พฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่เหมาะสม การดื่มน้ำน้อย แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ ตรวจเบาหวานวันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 664 บาท ลดสูงสุด 4705 บาท จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม!

  • การ ตรวจ โรค ไต รยางค์
  • การ ตรวจ โรค ไต อยู่ตรงไหน
  • การ ตรวจ โรค ไต เซน ไค เจอร์

ค่า BUN ค่า BUN (บียูเอ็น) เรียกอีกอย่างว่า "ค่าไนโตรเจนของสารยูเรียในกระแสเลือด (Blood Urea Nitrogen)" สารยูเรียคือ สารประกอบในของเสียซึ่งสังเคราะห์มาจากสารแอมโมเนีย และเตรียมจะถูกขับออกจากร่างกายในรูปของปัสสาวะ โดยสารแอมโมเนียจะมาจากการสังเคราะห์ของโปรตีนที่เรารับประทานเข้าไป โดยปกติสารยูเรียจะไม่ตกค้างในกระแสเลือดมาก หากไตยังสามารถขับของเสียออกไปจากร่างกายได้ดี แต่เมื่อไตเริ่มทำงานบกพร่อง สารยูเรียก็จะเริ่มตกค้างในกระแสเลือด และทำให้ค่าบียูเอ็นสูงขึ้น ค่าบียูเอ็นที่อยู่ในเกณฑ์ปกติของเด็กจะอยู่ที่ 5-18 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ส่วนผู้ใหญ่ จะอยู่ที่ประมาณ 10-20 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร 2. ค่า Creatinine ค่าสาร Creatinine (ครีเอตินิน) หรือชื่อเต็มว่า "Serum creatinine" เป็นค่าสารของเสียในร่างกายซึ่งมาจากการเผาผลาญพลังงานของกล้ามเนื้อที่เราใช้ในชีวิตประจำวัน เมื่อคุณเคลื่อนไหวร่างกาย ยืด หรือหดกล้ามเนื้อ สารนี้ก็จะหลั่งออกมา เมื่อแพทย์ตรวจได้ค่าสารครีเอตินิน ก็จะนำไปคำนวณหาอัตราการกรองของเสียของไต (Estimated Glomerular Filtration Rate: eGFR) ต่อไป หากค่าอัตราการกรองออกมาสูงแสดงว่า ไตมีประสิทธิภาพในการทำงานได้ดี โดยตัวเลขของค่าสารครีเอตินินซึ่งอยู่ในเกณฑ์ปกติคือ เพศชายอายุ 4-20 ปี จะอยู่ที่ 0.