tripleplaybiotech.com

ภาษา ไทย ม ๑

May 26, 2022
  1. ม.๓/๑ | ภาษาไทย I-T By maeyingthai
  2. ภาษาไทย ม.๑ | Kru TomTam Chi-Ra
  3. ข้อสอบ - แบบฝึกหัด: ***ข้อสอบภาษาไทย - มัธยมศึกษาปีที่ 1***
  4. ห้องเรียนภาษาไทย: ตัวชี้วัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย ม. ๒

คำอธิบายรายวิชา ตัวชี้วัด เนื้อหา วรรณคดี หลักภาษา การใช้ภาษา ใส่ความเห็น Enter your comment here... Fill in your details below or click an icon to log in: อีเมล (ต้องการ) (Address never made public) ชื่อ (ต้องการ) เว็บไซต์ You are commenting using your account. ( Log Out / เปลี่ยนแปลง) You are commenting using your Twitter account. You are commenting using your Facebook account. ยกเลิก Connecting to%s Notify me of new comments via email. Notify me of new posts via email.

ม.๓/๑ | ภาษาไทย I-T By maeyingthai

ภาษาไทย ม. ๑ เทอม ๒ รหัส ท๒๑๑๐๒ วรรณคดีวิจักษ์ กาพย์เรื่องพระไชยสุริยา ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน นิทานพื้นบ้าน ใส่ความเห็น Enter your comment here... Fill in your details below or click an icon to log in: อีเมล (ต้องการ) (Address never made public) ชื่อ (ต้องการ) เว็บไซต์ You are commenting using your account. ( Log Out / เปลี่ยนแปลง) You are commenting using your Twitter account. You are commenting using your Facebook account. ยกเลิก Connecting to%s Notify me of new comments via email. Notify me of new posts via email.

ภาษาไทย ม.๑ | Kru TomTam Chi-Ra

ข้อสอบ - แบบฝึกหัด: ***ข้อสอบภาษาไทย - มัธยมศึกษาปีที่ 1***

/) พยางค์เปิด คือ พยางค์ที่ไม่มีเสียงพยัญชนะท้าย เช่น มา หรือ หนู โครงสร้างของพยางค์ หมายถึง ส่วนประกอบของแต่ละพยางค์ โดยพิจารณาจาก เสียงของพยัญชนะท้าย พยางค์ปิด หรือพยางค์เปิด เสียงของพยัญชนะต้น เดี่ยว หรือควบกล้ำ อักษรนำ เสียงของสระ สระสั้น (รัสสระ) สระยาว (ทีฆสระ) เสียงของวรรณยุกต์ เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา คำ พยัญชนะต้น พยัญชนะท้าย เสียงสระ เสียงวรรณยุกต์ ดาว ด อา ท้อง ท เพื่อน เอือ คว้าง คว ปลวก ปล อัว ตลิ่ง ตล อยาก อย หงอย หง หนาว หน ขว้าง ขว คำเป็นคำตาย 1. คำเป็น หมายถึง คำที่ประสมด้วยสระเสียงยาว หรือคำที่มีเสียงสะกด แต่ยกเว้น แม่ กก กบ กด เช่น น้า ตี งู จง อาง ให้ เห็น 2. คำตาย หมายถึง คำที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นและไม่มีเสียงสะกด รวมทั้งคำที่อยู๋ในแม่ กก กบ กด เช่น กระทะ มะระ ก็ บ่ ธ ณ เป็ด กฎ ศพ อ้างอิง กาญจนา นาคสกุล. 2541. ระบบเสียงภาษาไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิชาการ, กรม กระทรวงศึกษาธิการ. วรรณลักษณ์วิจารณ์ เล่มที่ 1. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว. ตัวอย่างข้อสอบบทที่ 1 เรื่องระบบเสียงในภาษาไทย 1. ข้อใดมีเสียงสระสั้น ทุกพยางค์ 1. น้ำแข็ง น้ำใจ น้ำเชื่อม น้ำมัน 2.

ห้องเรียนภาษาไทย: ตัวชี้วัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย ม. ๒

  1. Dusit d2 เชียงใหม่ ฟิตเนส 1
  2. ยาง honda jazz 2014
  3. เขต กักกัน โรค
  4. คอน nct ไทย อังกฤษ
  5. นามแฝง ร 6 mois
  6. มา ตา เนะ
  7. บริษัท global chemical สมุทรปราการ corporation
  8. พะ นะ คอน 5 download
  9. Bottega Veneta ส่งท้าย Pre-Fall 2020 ด้วยรองเท้าบูทสุดเท่เหมาะทั้งชายและหญิง - BACIDEA
  10. แรง เงา 20
  11. โครงสร้างรายวิชาภาษาไทยม.๓ - krudaowruang Jina
  12. ข้อสอบ - แบบฝึกหัด: ***ข้อสอบภาษาไทย - มัธยมศึกษาปีที่ 1***

ข้อใดมีเสียงพยัญชนะท้ายมากที่สุดโดยไม่นับเสียงซ้ำ(A-NET 50) 1. จงจำไว้ว่าอนาคตที่สดใสต้องเริ่มต้นเดี๋ยวนี้ ( ง ม ย ด น ว) 2. จงมองหาโอกาสที่ซ่อนอยู่ในอุปสรรคที่เผชิญ (ง ด น ย ก น) 3. จงจำไว้ว่าคำพูดที่อ่อนหวานช่วยสมานใจได้ดี (ง ม ย ม ด น ย) 4. จงวางดินสอกับกระดาษโน้ตไว้ข้างโทรศัพท์ทุกเครื่อง (ง บ ด น ย ก) 14. ข้อใดมีคำที่สะกดด้วยแม่กดมากที่สุด (O-Net 49) 1. อุบัติเหตุอาจเกิดขึ้นเป็นนิตย์ในโอกาสวันสุดสัปดาห์ 1 1 1 1 1 1 1 1 2. งานเฉลิมฉลองพระเกียรติในวโรกาสการประสูติพระโอรส 1 1 1 1 3. ขอตั้งสัจจะอธิษฐานยึดมั่นในชาติ ศาสน์ กษัตริย์ชั่วนิรันดร์ 1 1 1 1 1 4. ยศถาบรรดาศักดิ์ไม่สามารถสกัดกั้นให้แคล้วคลาดปราศจากอุปัทวันตรายได้ 1 1 1 1 1 1 1 15. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบห้าเสียง (O-Net 49) 1. โง่ไม่เป็นใหญ่ยากฝากให้คิด ท ท ส อ ท อ ท ต 2. ทางชีวิตจะรุ่งโรจน์โสตถิผล ส ส ต อ ท ท อ อ จ 3. ต้องรู้โง่ฉลาดปราดเปรื่องตน ท ต ท อ อ อ ส 4. โง่สิบหนดีกว่าเบ่งเก่งเดี๋ยวเดียว ท อ จ ส อ อ อ จ ส 16. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบ 5 เสียง (O-NET 50) 1. เจ้าคุมแค้นแสนโกรธพิโรธพี่ 2. แต่เดือนยี่ย่างเข้าเดือนสาม 3. จนพระหน่อสุริยวงศ์ทรงพระนาม 4.

ตัวชี้วัดการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทยพื้นฐาน (ท๒๑๑๐๒) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ท๑. ๑ ม. ๑/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน ท๑. ๑/๒ จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน ท๑. ๑/๓ ระบุเหตุและผลและข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน ท๑. ๑/๔ ระบุและอธิบายคำเปรียบเทียบ และคำที่มีหลายความหมายในบริบทต่างๆ จากการอ่าน ท๑. ๑/๕ ตีความคำยากในเอกสารวิชาการ โดยพิจารณาจากบริบท ท๑. ๑/๖ ระบุข้อสังเกตและความสมเหตุสมผลของงานเขียนประเภทชักจูง โน้มน้าวใจ ท๑. ๑/๗ ปฏิบัติตามคู่มือแนะนำวิธีการใช้งานของเครื่องมือหรือเครื่องใช้ในระดับที่ยากขึ้น ท๑. ๑/๘ วิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับจากการอ่านงานเขียนอย่างหลากหลายเพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต ท๒. ๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ท๒. ๑/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคำถูกต้องชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย ท๒. ๑/๓ เขียนบรรยายประสบการณ์โดยระบุสา ระสำคัญและรายละเอียดสนับสนุน ท๒. ๑/๔ เขียนเรียงความ ท๒. ๑/๕ เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน ท๒. ๑/๖ เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากสื่อที่ได้รับ ท๒. ๑/๗ เขียนจดหมายส่วนตัวและจดหมายกิจธุระ ท๒. ๑/๘ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและโครงงาน ท๒.